วันศุกร์ที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2558

บทที่ 5  ของแข็ง ของหลว แก๊ส
5.6 สมบัติของแก๊ส
สมบัติทั่วไปของแก็ส สมบัติทั่วไปของแก็ส ได้แก่
1. แก๊สมีรูปร่างเป็นปริมาตรไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ บรรจุ ในภาชนะใดก็จะมีรูปร่างเป็นปริมาตรตามภาชนะนั้น เช่น ถ้าบรรจุในภาชนะทรงกลมขนาด 1 ลิตร แก๊สจะมีรูปร่างเป็นทรงกลมมีปริมาตร 1 ลิตร เพราะแก็สมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค (โมเลกุล หรืออะตอม) น้อยมาก จึงทำให้อนุภาคของแก๊สสามารถเคลื่อนที่หรือแพร่กระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ  อ่านเพิ่มเติม



บทที่ 5  ของแข็ง ของหลว แก๊ส
5.5 สมบัติของของเหลว
สมบัติของของเหลว
1.  ของเหลวมีปริมาตรคงที่  เนื่องจากโมเลกุลของของเหลวอยู่เป็นกลุ่ม ๆ อย่างไม่เป็นระเบียบ  โดยมีระยะห่างระหว่างกลุ่มเล็กน้อยและของเหลวมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมากกว่าแก๊ส  จึงทำให้โมเลกุลของของเหลวเคลื่อนที่ได้ระยะทางใกล้ ๆ  ไม่สามารถเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระเหมือนแก๊ส  จึงทำให้ของเหลวมีปริมาตรคงที่ไม่สามารถฟุ้งกระจายเต็มภาชนะ (มีปริมาตรเท่ากับภาชนะบรรจุ)  เหมือนแก๊ส  ปริมาตรของของเหลวเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยเมื่อเปลี่ยนความดันและอุณหภูมิ  อ่านเพิ่มเติม


บทที่ 5  ของแข็ง ของหลว แก๊ส
5.4 การเปลี่ยนสถานะของของแข็ง
การเปลี่ยนสถานะของของแข็ง  อนุภาคของของแข็งแม้จะอยู่ใกล้กันมากและไม่เคลื่อนที่  แต่มีการสั่นอยู่ตลอดเวลา  เมื่อเพิ่มอุณหภูมิให้แก่ของแข็ง  จะทำให้โมเลกุลมีพลังงานจลน์เพิ่มขึ้น  อ่านเพิ่มเติม


บทที่ 5  ของแข็ง ของหลว แก๊ส
5.1 สมบัติของของแข็ง
โมเลกุลของสารในสถานะของแข็งจะอยู่ชิดกันมาก ของแข็งจึงมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลสูงกว่าในสถานะของเหลว ทำให้ของแข็งมีรูปร่างและปริมาตรแน่นอน ไม่เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ โมเลกุลของของแข็งเคลื่อนที่ไม่ได้ แต่ก็มีการสั่นสะเทือนอยู่ตลอดเวลา  อ่านเพิ่มเติม



บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.6  สมการเคมี
สมการเคมีเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารตั้งต้น (อาจเป็นปฏิกิริยาระหว่างโมเลกุล อะตอม หรือไอออนก็ได้) เพื่อเกิดเป็นผลิตภัณฑ์ โดยเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ และสูตรโมเลกุลที่เป็นตัวแทนของธาตุที่อยู่ในสารประกอบ  อ่านเพิ่มเติม



บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.4 สารละลาย
สารละลาย (Solution) คือ สารเนื้อเดียวที่มีสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน ประกอบด้วยตัวทำละลายและตัวถูกละลาย ถ้าตัวถูกสารละลายและตัวทำละลายมีสถานะเดียวกันสารละลายที่มีปริมาณมากกว่าเป็นตัวทำละลาย แต่ถ้าสารทั้งสองมีสถานะแตกต่างกันสารที่มีสถานะเดียวกันกับสารละลายเป็นตัวทำละลาย หน่วยของสารละลาย เป็นค่าที่แสดงถึงปริมาณของตัวละลายที่ละลายอยู่ในตัวทำละลายหรือในสารละลายนั้น วัดในรูปความเข้มข้นปริมาณตัวถูกละลายต่อปริมาณสารละลาย ( ยกเว้นหน่วยโมลต่อกิโลกรัม )  อ่านเพิ่มเติม


บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
4.3  โมล
โมล คือ หน่วยของปริมาณสารหน่วยหนึ่งที่มีความหมายเช่นเดียวกับกรัมโมเลกุล กรัมอะตอมหรือกรัม
ไอออน มีวิธีหาได้ 4 แบบ ดังต่อไปนี้  อ่านเพิ่มเติม